logo
logomobile
Navigation
  • หน้าแรก
  • รู้จักสำนักงาน
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
    • ยุทธศาสตร์ สนค.
    • นโยบาย/มาตรการ/แผน
      • นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของ สนค.
        • นโยบาย
          • ประจำปีงบประมาณ 2564
          • ประจำปีงบประมาณ 2565
        • คณะทำงานการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
        • แผนปฏิบัติการนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
          • ประจำปีงบประมาณ 2564
          • ประจำปีงบประมาณ 2565
      • มาตรการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อสาธารณะ
      • มาตรการและกลไกการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
        • ปีงบประมาณ 2566
        • ปีงบประมาณ 2565
      • แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจการพาณิชย์ ของ สนค.
      • แผนปฏิบัติราชการ ของ สนค.
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2566
        • แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี (ระยะแรก ปี 2566 – 2570)
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2565
        • แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี (ระยะแรก ปี 2563 – 2565)
        • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2561-2564)
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2564
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2563
        • แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2561
      • แผนปฏิบัติงานของ สนค.
        • ปีงบประมาณ 2566
        • ปีงบประมาณ 2565
        • ปีงบประมาณ 2564
        • ปีงบประมาณ 2563
        • ปีงบประมาณ 2562
        • ปีงบประมาณ 2561
        • ปีงบประมาณ 2560
        • ปีงบประมาณ 2559
      • นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
      • มาตรการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
      • ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า พ.ศ. 2566
    • ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
    • ผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง
    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับกรม
    • โครงสร้างองค์กร
      • โครงสร้างผู้บริหาร
      • แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
    • กฎระเบียบและข้อบังคับ
    • การดำเนินงานของ สนค.
      • งานงบประมาณและการเงิน
      • งานตรวจสอบภายใน
      • งานบริหารบุคลากร
      • งานส่งเสริมจริยธรรมและต่อต้านทุจริต
      • คำรับรองปฎิบัติราชการฯ-ผลปฏิบัติงานของ สนค.
        • คำรับรองปฏิบัติราชการ
          • ปีงบประมาณ 2563
          • ปีงบประมาณ 2562
          • ปีงบประมาณ 2561
          • ปีงบประมาณ 2560
          • ปีงบประมาณ 2559
            • รายงานคำรับรองฯ
            • รายงานผลราย 6 เดือน
            • รายงานผลราย 9 เดือน
        • ผลการปฏิบัติงานของ สนค.
          • ปีงบประมาณ 2566
          • ปีงบประมาณ 2565
          • ปีงบประมาณ 2564
          • ปีงบประมาณ 2563
          • ปีงบประมาณ 2562
          • ปีงบประมาณ 2561
            • ผลการปฏิบัติงานรอบ 6 เดือน
            • ผลการเบิกจ่ายรอบ 6 เดือน
          • ปีงบประมาณ 2560
            • ผลการปฏิบัติงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ณ สิ้นปีงบประมาณ
      • ประเมินความโปร่งใส
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการ
      • หน่วยงานพาณิชย์คุณธรรม
      • รายงานประจำปี
  • อำนาจหน้าที่
  • นโยบาย
    • ยุทธศาสตร์และแผนระดับชาติ
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์
      • ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์
      • แผนปฏิบัติราชการกระทรวงพาณิชย์
  • ถาม-ตอบ
    • กระดานสนทนา
  • แบบสำรวจ
  • ติดต่อเรา
  • แผนผังเว็บไซต์
-A A +A

Search form

** 📢 ประกาศสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ในตำแหน่งนักวิชาการพาณิชย์ **** 📢 ประกาศสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เรื่อง นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล **** 📢 ประกาศสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เรื่อง นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ **** 📢 ประกาศสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เรื่อง นโยบายข้อมูลองค์กร **

Page Style

  • Black/White
  • White/Black
  • Yellow/Blue
  • Standard

Current Style: Standard

  • หน้าแรก
  • รู้จักสำนักงาน
    • ประวัติความเป็นมา
    • วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
    • ยุทธศาสตร์ สนค.
    • นโยบาย/มาตรการ/แผน
      • นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของ สนค.
        • นโยบาย
          • ประจำปีงบประมาณ 2564
          • ประจำปีงบประมาณ 2565
        • คณะทำงานการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
        • แผนปฏิบัติการนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
          • ประจำปีงบประมาณ 2564
          • ประจำปีงบประมาณ 2565
      • มาตรการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อสาธารณะ
      • มาตรการและกลไกการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
        • ปีงบประมาณ 2566
        • ปีงบประมาณ 2565
      • แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจการพาณิชย์ ของ สนค.
      • แผนปฏิบัติราชการ ของ สนค.
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2566
        • แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี (ระยะแรก ปี 2566 – 2570)
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2565
        • แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี (ระยะแรก ปี 2563 – 2565)
        • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (2561-2564)
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2564
        • แผนปฏิบัติราชการ ปี 2563
        • แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2561
      • แผนปฏิบัติงานของ สนค.
        • ปีงบประมาณ 2566
        • ปีงบประมาณ 2565
        • ปีงบประมาณ 2564
        • ปีงบประมาณ 2563
        • ปีงบประมาณ 2562
        • ปีงบประมาณ 2561
        • ปีงบประมาณ 2560
        • ปีงบประมาณ 2559
      • นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนของสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
      • มาตรการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม
      • ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า พ.ศ. 2566
    • ค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร
    • ผู้นำการบริหารการเปลี่ยนแปลง
    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับกรม
    • โครงสร้างองค์กร
      • โครงสร้างผู้บริหาร
      • แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
    • กฎระเบียบและข้อบังคับ
    • การดำเนินงานของ สนค.
      • งานงบประมาณและการเงิน
      • งานตรวจสอบภายใน
      • งานบริหารบุคลากร
      • งานส่งเสริมจริยธรรมและต่อต้านทุจริต
      • คำรับรองปฎิบัติราชการฯ-ผลปฏิบัติงานของ สนค.
        • คำรับรองปฏิบัติราชการ
          • ปีงบประมาณ 2563
          • ปีงบประมาณ 2562
          • ปีงบประมาณ 2561
          • ปีงบประมาณ 2560
          • ปีงบประมาณ 2559
            • รายงานคำรับรองฯ
            • รายงานผลราย 6 เดือน
            • รายงานผลราย 9 เดือน
        • ผลการปฏิบัติงานของ สนค.
          • ปีงบประมาณ 2566
          • ปีงบประมาณ 2565
          • ปีงบประมาณ 2564
          • ปีงบประมาณ 2563
          • ปีงบประมาณ 2562
          • ปีงบประมาณ 2561
            • ผลการปฏิบัติงานรอบ 6 เดือน
            • ผลการเบิกจ่ายรอบ 6 เดือน
          • ปีงบประมาณ 2560
            • ผลการปฏิบัติงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ ณ สิ้นปีงบประมาณ
      • ประเมินความโปร่งใส
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจในการให้บริการ
      • หน่วยงานพาณิชย์คุณธรรม
      • รายงานประจำปี
  • อำนาจหน้าที่
  • นโยบาย
    • ยุทธศาสตร์และแผนระดับชาติ
    • ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์
      • ยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์
      • แผนปฏิบัติราชการกระทรวงพาณิชย์
  • ถาม-ตอบ
    • กระดานสนทนา
  • แบบสำรวจ
  • ติดต่อเรา
  • แผนผังเว็บไซต์

You are here

Home » บทวิเคราะห์การส่งออกทุเรียนไทย

บทวิเคราะห์การส่งออกทุเรียนไทย

  • ดีมาก (16698 vote)
  • ดี (18382 vote)
  • พอใช้ (17523 vote)
  • ต้องปรับปรุง (5883 vote)
  • Total (79659 vote)

ภาพรวมความพึงพอใจการเข้าใช้งานเว็บไซต์สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า

ข้อเสนอแนะ :

แบบสำรวจความพึงพอใจการเข้าใช้งานเว็บไซต์สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า


พอใจมากที่สุด

21%

พอใจมาก

23%

พอใจปานกลาง

22%

พอใจน้อย

7%

พอใจน้อยที่สุด

27%

Total votes: 79659

Submitted by priceadmin on 20 August, 2020 - 15:45

บทวิเคราะห์การส่งออกทุเรียนไทย

ดาวน์โหลด คลิกที่นี่

                    รายงานวิเคราะห์การส่งออกทุเรียนไทย สามารถสรุปประเด็นสำคัญ ได้ดังต่อไปนี้ค่ะ 📝📊

                    ✒️1. การส่งออกทุเรียนไทยใน 6 เดือนแรกของปี 2563 ยังคงขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าประเทศคู่ค้าสำคัญจะได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 โดยการส่งออกใน 6 เดือนแรก มีมูลค่า 1,411.0 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวร้อยละ 72.6 ซึ่งเป็นการขยายตัวสูงทั้งปริมาณและมูลค่าการส่งออก โดยตลาดส่งออกที่สำคัญอย่างจีนมีมูลค่าการส่งออก 1,022.4 ล้านดอลลาร์ สรอ. ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 140.3

                    ✒️ 2. จากการวิเคราะห์การส่งออกนับจากปี 2552 พบว่า การส่งออกไทยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยเป็นการเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณ ราคา และมูลค่า และในปี 2562 การส่งออกทุเรียนเพิ่มขึ้นจากปี 2552 ประมาณร้อยละ 1222.3 ซึ่งถือเป็นอัตราการเติบโตที่สูงเป็นอย่างมาก จึงเป็นสินค้าสำคัญที่สามารถสร้างรายได้ให้กับการส่งออกไทยอย่างต่อเนื่อง 

                    ✒️ 3. การส่งออกทุเรียนสามารถก้าวข้ามจุดอ่อนการส่งออกสินค้าเกษตรสำคัญต่างๆ ได้ โดยลักษณะที่สำคัญของสินค้าเกษตร “เมื่อราคาเพิ่มสูงขึ้น ปริมาณการผลิตจะเพิ่มขึ้น และนำมาสู่การปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพใหม่ที่ทำให้ราคาลดลง” ในลักษณะกราฟใยแมงมุม หรือ Cobweb Theory 

                    อย่างไรก็ตาม การส่งออกทุเรียน มีความแตกต่างจากผลไม้ประเภทอื่นๆ คือ เมื่อราคาส่งออกสูงขึ้น แม้จะทำให้ปริมาณการผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น แต่การปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพใหม่ในลักษณะราคาและปริมาณการส่งออกปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (new high) สะท้อนถึงความต้องการซื้อจากต่างประเทศสามารถดูดซับอุปทานที่เพิ่มขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง หรือ เกิดในลักษณะ “Demand Driven” 

                    ซึ่งหากไทยยังสามารถขยายตลาดเพื่อเพิ่มความต้องการซื้อให้มากขึ้น และเพียงพอที่จะรองรับปริมาณผลผลิตที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต คาดว่าราคาและปริมาณการส่งออกของไทยจะยังมีทิศทางที่เพิ่มขึ้น

                    ✒️ 4. จุดแข็งการส่งออก/การนำเข้าทุเรียนโลก

                    🔹 ด้านราคา: ทุเรียนจัดเป็นสินค้าพรีเมียม ราคาที่สูงขึ้น ไม่ส่งผลกระทบต่อปริมาณความต้องการส่งออก ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก demand driven จากประเทศจีน
                    🔹 ด้านลักษณะตลาดของผู้นำเข้า: ตลาดผู้นำเข้าทุเรียนสำคัญของโลก อย่างประเทศจีน มีลักษณะเป็นการผูกขาดเกือบสมบูรณ์ มีการแข่งขันน้อย และที่สำคัญไทยเป็นผู้มีส่วนแบ่งการตลาดสูง “หรือไทยทำให้มีการผูกขาดเกิดขึ้น” ทำให้มีโอกาสน้อยที่คู่แข่งทางการค้าจะเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดจากไทย
                    🔹 ด้านผู้ผลิต: Big player ในตลาดส่งออกทุเรียนมีเพียงประเทศไทย และยังไม่มีผู้ส่งออกประเทศอื่นๆ ที่จัดได้ว่าเป็นผู้ส่งออกดาวรุ่ง “หรือยังขาดแคลน ผู้ส่งออกดาวรุ่งในตลาดทุเรียน” ทำให้ไทยอาจจะยังไม่ต้องกังวลต่อการแข่งขันการส่งออกทุเรียนจากประเทศต่างๆ

                    ✒️5. จุดอ่อนการส่งออกทุเรียน

                    การนำเข้าทุเรียนของโลกมีการกระจุกตัวที่สำคัญในตลาดจีนเท่านั้น ขณะที่การนำเข้าจากประเทศอื่นๆ ยังมีสัดส่วนค่อนข้างน้อย

                    ✒️6. ข้อเสนอแนะการส่งออกทุเรียนไทย

                    🔸 รักษามาตรฐานการส่งออกเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อสินค้าไทย และสร้างความเข้มแข็งกับเครือข่ายผู้ส่งออก/ผู้กระจายสินค้าในจีน เพื่อป้องกันการแข่งขันจากประเทศอื่นๆ
                    🔸 ขยายตลาดการส่งออกไปยังมณฑลต่างๆ ของจีน รวมถึงตลาดอื่นๆ ให้มากขึ้น เพื่อรองรับปริมาณผลผลิตที่จะเพิ่มขึ้น และเป็นการกระจายตลาดการส่งออก เพื่อลดความเสี่ยงจากการพึ่งพาตลาดจีนสูง
                    🔸 เพิ่มจุดแข็งด้านการผลิตทุเรียนนอกฤดู เพื่อตอบโจทย์ในช่วงที่ประเทศคู่ค้าอย่างจีนมีการจับจ่ายสูง โดยเฉพาะให้มีผลผลิตตรงกับช่วงเทศกาลเฉลิมฉลองปีใหม่ของจีน ซึ่งมีกำลังซื้อสูง
                    🔸 เพิ่มทางเลือกการขนส่งสินค้า ที่ปัจจุบันมีการกระจุกตัวในการส่งผ่านทางด่านเวียดนามและจีนตอนใต้ ซึ่งหากผลผลิตเพิ่มขึ้นจะทำให้การส่งออกมีความแออัดและมีระยะเวลานานขึ้น ซึ่งอาจจะกระทบต่อคุณภาพสินค้าได้
.
🙏🏻 ขอบคุณบทความจาก : กองดัชนีเศรษฐกิจการค้า กลุ่มดัชนีราคาส่งออก-นำเข้า  🙏🏻

ไฟล์อัพโหลด: 
PDF icon wiekhraaahkaarsngkthueriiyn.pdf
วันที่ลงข่าว: 
Thursday, 20 August 2020
footerlogo

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2559 กระทรวงพาณิชย์ Ministry of Commerce

© 2016 สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า

กระทรวงพาณิชย์ 563 ถนนนนทบุรี ตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

E-mail: saraban-tpso@moc.go.th, tpso_webmaster@moc.go.th

โทรศัพท์. 0 2507 7895 โทรสาร. 0 2547 5687, 0 2507 7007

นโยบายข้อมูลองค์กร  |  นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ  |  นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

Follow Us
 facebook facebook
Hot Line
hotline

© 2023 กลุ่มมาตรฐานข้อมูลและดัชนีเศรษฐกิจการค้า กองสารสนเทศและดัชนีเศรษฐกิจการค้า

สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์ โทร.0-2507-5822 โทรสาร 0-2507-5806